นานสาระ - diy แบบ 71
                                
กำลังแสดงผล 1 ถึง 10 จากทั้งหมด 10

ชื่อกระทู้: นานสาระ - diy แบบ 71

  1. #1
    Member MiNi71's Avatar
    วันที่สมัคร
    Jan 2006
    สถานที่
    71 Vintage Machine
    ข้อความ
    271
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน นานสาระ - diy แบบ 71



    พิมตกว่ะ มันต้องเป็น นานาสาระแน เอ้ย สาระเฉยๆๆ

    ช่วยกันนะครับพี่ - น้อง ทุกคนนะครับ

    อยากชวนกันมาแลกเปลี่ยนความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับรถที่รักของเราครับ

    ไม่ว่าจะเป็นแบบทั่วไป หรือ DIY แบบฉบับของตัวเองก็ลองดูครับ




    เริ่มก่อนละนะ

    การจ่ายไอดีของมอเตอร์ไซค์ 2 จังหวะ

    การจ่ายไอดีที่ใช้อยู่ในรถมอเตอร์ไซด์สองจังหวะจะมีว ิธีที่แตกต่างไปจากพวก 4 จังหวะพอสมควรเอาง่าย ๆ ว่ามันมีรูปแบบเฉพาะตัวของมันเองจะฟังดูง่ายกว่า เพราะว่ารูปแบบการทำงานและโครงสร้างของเครื่องยนต์ระ หว่างเครื่องยนต์สองจังหวะปละสี่จังหวะมีความแตกต่าง กันอย่างชัดเจน แต่เป้าหมายในการจ่ายไอดีของเครื่องยนต์ทั้งสองแบบเห มือนกัน คือการจ่ายไอดีให้เข้าไปในห้องเผาไหม้ได้อย่างรวดเร็ ว

    ไอดีที่เราพูดถึงกันอยู่นี้ความจริงแล้วมันคือส่วนผส มของน้ำมันเบ็นซิลและอากาศ โดยการผสมนี้จะเกิดขึ้นโดยเป็นหน้าที่ของคาร์บูเรเตอ ร์ ซึ่งคาร์บูเรเตอร์นอกจากจะทำให้อากาศหและน้ำมันให้ผส มกันในสัดส่วนที่เหมาะสมอีกด้วย

    ในเครื่องยนต์สองจังหวะไม่มีทั้งลิ้นไอดีและลิ้นไอเส ียเพื่อคอยปิด-เปิดและคอยควบคุมประมาณการไหลของไอดีที่จะเข้ามาในกร ะบอกสูบ รวมถึงการคลายไอเสียออกไปหลังจากการเผาไหม้เสร็จแล้ว ซึ่งเครื่องยนต์สองจังหวะจะมีเพียงลูกสูบทำหน้าที่เค ลื่อนที่ขึ้น-ลงอยู่ภายในกระบอกสูบและจะรับการถ่ายทอดพลังงานจากกา รระเบิดส่งต่อไปยังข้อเหวี่ยง โดยลูกสูบเมื่อเคลื่อนที่ขึ้น-ลงแบบนี้จะทำหน้าที่เป็นตัวปิด-เปิดช่องทางไอดีและไอเสียไปด้วยในตัว ซึ่งเมื่อสมัยแรก ๆ ของเครื่องยนต์แบบสองจังหวะจะใช้ลูกสูบเป็นตัวควบคุม การจ่ายไอดีเข้าสู่ห้องแคร้งค์ โดยให้ลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้น-ลงแบบนี้นี่แหละเขาจึงเรียกว่าการจ่ายไอดีแบบนี้ว่า "พิสตันวาล์ว" (Piston Valve)

    การทำงานของการจ่ายไอดีแบบพิสตันวาล์วจะเริ่มเมื่อลู กสูบเคลื่อนที่ขจากจุดต่ำสุด หรือในทางวิชาการหน่อยเขาจะเรียกว่า "ศูนย์ตายล่าง" ขึ้นไปยังจุดสุดยอด หรือ "ศูนย์ตายบน" ในขณะความดันภายในห้องแคร้งค์จะลดต่ำลงกว่าความดันที ่อยู่ภายนอก เพราะฉะนั้นมันเลยทำให้เกิดแรงดึงดูดขึ้นและในเวลาเด ียวกันนั่นเองบริเวณชายลูกสูบได้เลื่อนขึ้น จนเริ่มเปิดช่องทางไอดีและเปิดออกสุด โดยช่องทางไอดีนี้จะต่อตรงกับคาร์บูเรเตอร์ จึงทำให้ไอดีสามารถผ่านเข้ามาได้ ตามแรงดึงดูดที่เกิดขึ้นและเข้ามารออยู่ใน ห้องแคร้งค์เพื่อจะไปต่อยังห้องเผาไหม้การที่ไอดีจำน วนนี้จะผ่านเข้าไปยัง ห้องเผาไหม้ได้จะต้องรอให้ลูกสูบเคลื่อนมาปิดช่องพอร ์ทซึ่งมีทางที่เชื่อมต่อกับ ห้องแคร้งค์และมีทางออกอยู่ทางด้านบนก็จะเริ่มเปิดจน เปิดออกหมดเช่นกัน ไอดีจึงสามารถเข้าไปยังห้องเผาไหม้ได้ และเมื่อลูกสูบเลื่อนขึ้นมาอีกครั้งก็จะเป็นจังหวะอั ดและระเบิด ไอดีชุดนี้จะกลายเป็นไอเสียและถูกปล่อยออกทางพอร์ทไอ เสีย

    ต่อมาได้มีการพัฒนาการประจุไอดีให้มีประสิทธิภาพดีขึ ้นมาอีก โดยเรียกว่า "โรตารี่วาล์ว" ซึ่งการประจุไอดีแบบนี้ยังคงมีหลักการคล้าย ๆ กับการประจุไอดีแบบพิสตันวาล์ว แต่ว่าจะมีประสิทธิภาพดีกว่ามีการรั่วไหลของไอดีได้น ้อยลง การทำงานของโรตารี่วาล์วจะเป็น การเพิ่มตรงเพลาข้อเหวี่ยง โดยจะทำเป็นจานและเจาะช่องเอาไว้ในตำแหน่งที่พอดีกับ พอร์ทไอดี เมื่อเจ้าช่องนี้ที่ว่านี้หมุนมาตรงกับพอร์ทไอดีในจั งหวะที่ลูกสูบเลื่อนจากศูนย์ตายล่างขึ้นไปยังศูนย์ตา ยบน หลังจากนั้นโรตารี่วาล์วจะค่อย ๆ เลื่อนมาปิดช่องไอดีพร้อม ๆ กันนั้น ลูกสูบได้เลื่อนลงไปยังศูนย์ตายล่างเพื่อเปิดพอร์ทไอ เสียออกและในขณะเดียวกันยังได้เปิดทรานสเฟอร์พอร์ทเพ ื่อใฟ้ไอดีที่อยู่ใน ห้องแคร้งค์ได้ออกมาขับไล่ไอเสียออกไปและกลวัตรการทำ งานก็จะเริ่มใหม่อย่างนี้อีกครั้ง

    ข้อดีของการใช้โรตารี่วาล์วเมื่อเทียบกับพิสตันวาล์ว ก็คือ การออกแบบลูกสูบและกระบอกสูบไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงชา ยลูกสูบ (ซึ่งจะต้องคอยปิดและเปิดพอร์ทไอดี) และการรั่วของไอดีจะน้อยลง เนื่องจากมีจานโรตารี่มาช่วยรถหลาย ๆ รุ่นก็ได้ใช้การประจุแบบนี้แต่ต่อมามีการประจุไอดีแบ บ "รีดวาล์ว"
    ขึ้นมา ซึ่งได้แก้ไขจุดบกพร่องที่มีกับการประจุไอดีทั้งสองแ บบข้างต้นให้หมดไปและยังได้รับความนิยมอย่างมากจนกระ ทั่งปัจจุบันนี้

    การทำงานของรีดวาล์วก็ยังคงใช้หลักการเดียวกันกับสอง แบบแรกเช่นกัน นั่นคือเมื่อลูกสูบเคลื่อนที่จากศูนย์ตายล่างขึ้นไปย ังศูนย์ตายบน ความดันภายในห้องแคร้งค์จะลดลงและจะทำให้เกิดแรงดูดข ึ้งและแรงดูดนี้เองที่ทำให้แผ่นรีดวาล์วเปิดออก ไอดีจึงสามารถผ่านรีดวาล์วเข้าไปในห้องแคร้งค์ได้ แผ่นรีดวาล์วนี้ในตอนแรกทำจากโลหะบาง ๆ และอ่อนสามารถให้ตัวได้ดี เมื่อโดนแรงดูดมันจะงอตัวได้จนไปชนกับ "แผ่นหยุด" ซึ่งเป็นแผ่นโลหะที่แข็งหว่าปละมีเอาไว้เพื่อป้องกัน ไม่ให้แผ่นรีดง้างมากเกินไป เดี๋ยวนี้วัสดุที่ใช้ทำแผ่นรีดวาล์วนอกจากโลหะแล้วยั งมีทีทำจากคาร์บอนและไฟเบอร๋อีกด้วย

    แม้ว่าการจ่ายไอดีด้วยรีดวาล์วนี้จะมีข้อดีอยู่มากก็ จริงแต่ว่ายังมีปัญหาเกิดขึ้นได้เล็กน้อยเมื่อบางคนไ ปปรับแต่งแผ่นรีดนี้เข้า ทางที่ดีแล้วไม่ควรจะไปยุ่งกับมันถ้าเกิดปัญหาใมห้เป ลี่ยนใหม่ไปเลยแต่โดยมากแล้วจะไม่ค่อยมีปัญหาหรอก


    ข้อมูลจากนิตยสารนักเลงมอเตอร์ไซค์
    แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย MiNi71 : 10-06-2009 เมื่อ 13:16
    71 Vintage Machine




    [IMG][/IMG]

  2. #2
    Member MiNi71's Avatar
    วันที่สมัคร
    Jan 2006
    สถานที่
    71 Vintage Machine
    ข้อความ
    271
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน สูตร ทด สเตอร์

    สูตรทดสเตอร์ พร้อมตาราง มีประโยชน์มากสำหรับรถเกียร์ครับ
    อันนี้ก็น่าสนนะพี่ๆ
    SR พี่เต้ใช้เบอร์ไรอ่ะ

    Name:  2008-10-24_01_01.jpg
Views: 1335
Size:  67.7 KB

    อันนี้ก็ก๊อปเขามาอีกทีครับจาก www.mocyc.com





    จากตรารางอัตตราทด เราจะสังเกตุว่าคู่สเตอร์จะมีอัตตราทดแบ่งออกเ ป็น3 แบบด้วยกันคือ
    1. แบบหารลงตัว เช่น 14/28=2.0000 หรือ 13/39=3.0000
    2. แบบหารแล้วเกิดทศนิยม แต่ไม่เกิน2ตำเหน่ง เช่น 14/35=2.5000 หรือ16/36=2.2500
    3. แบบหารแล้วเกิดทศนิยมเกิน3ตำเหน่งขึ้นไป เช่น13/40=3.0769 หรือ 14/34=2.4286 แล้วทั้ง3แบบนี้มันมีข้อแตกต่างอย่างไรมาดูกัน

    1. แบบหารลงตัว คู่เฟืองไดที่มีอัตตราทดแบบนี้จะไม่เป็นที่ยอมรับกัน ทางทฤษฎี(ยกเว้นในเฟืองไทม์มิ่ง)เพราะอัตตราทดเช่นนี ้จะทำให้เกิดการพบกันของคู่ฟันเดิมทุกๆรอบการทำงาน เช่นคู่เฟือง 14/28 อัตราทดเท่ากับ 2:1คือเฟือง14ฟันหมุน1รอบส่วนเฟือง28ฟันหมุน2รอบดังน ั้นเฟืองที่1ของเฟือง14จะหมุนวนมาเจอกับฟันเฟืองที่1 4และ28ของเฟือง28ฟันทุกๆรอบการทำงาน ซึ้งลักษณะนี้จะเกิดขึ้นทุกๆ คู่ฟัน จนทำให้เกิดสึกหรอที่เกิดขึ้นเป็นการสึกหรอที่ตายตัว แล้วเมื่อใดที่มีการขยับเปรี่ยนแปลงคู่เฟืองนั้นๆก็จ ะเกิดเสียงดังขึ้นเหราะเกิดจากการสึกหรอที่เกิดนั้นไ ม่ตรงกัน ทีนี้เมื่อเรามาดูถึงคู่สเตอร์บ้าง ถึงแม้ฟันสเตอร์จะไม่ได้ขบกันโดยตรงเหมือนกับ เฟืองเกียร์ แต่ปัณหาการสึกหรอดังที่กล่าวมาแล้วนั้นก็เกอดขึ้นได ้ เพราะอย่างไรเสียจำนวนข้อโซ้ก็ตายตัว เมื่อการใช้งานเกิดขึ้นการสึกหรอของฟันสเตอร์ก็จะเป็ นอย่างที่กล่าวมา ดังนั้นทางโรงงานผลิตจึงนำฟันเฟืองที่หารกันไม่ลงตัว มาใช้(เราจะกล่าวถึงต่อไปว่าทำไม่ถึงต้องใช้แบบหารไม ่ลงตัวแต่ทั้งนี้เราบางทีเราก็อาจจะเห็นทีมแข่งบางที มใช้สเตอร์แบบหารกันลงตัวนี้ลงสนาม ซึ้งก็สามารถใช้ไช้ได้เพราะการแข่งเป็นแบบชั่วคราวขึ ้นอยู่กับความต้องการของทีมแข่ง แต่ถ้าทำมาใช้งานวิ่งทุกวันแบบรถทั่วไปเห็นจะไม่มีใค รทำครับ

    2. แบบหารแล้วเกิดทศนิยม แต่ไม่เกิน 2 ตำแหน่ง เราทราบกันไปแล้วว่าอัตราทดที่หารแล้วลงตัวมีผลเสียอ ย่างไร ทีนี้ก็มาดูอัตราทดที่หารแล้วไม่ลงตัวจะมีผลดีอย่างไ ร แล้วที่แบ่งออกมาว่าจุดทศนิยมไม่เกิน 2 ตำแหน่งเป็นนี้เป็นอย่างไร การที่อัตราทดหารกันแล้วได้ลงตัวเลขของมาเป็นจุดทศนิ ยมนั้นเป็นสิ่งที่ดีเพราะฟันเฟืองมีโอกาศที่จะไปพบกั บคู่ฟันอื่นได้ ทำให้การสึกหรอไม่ซ้ำซาก แต่การที่มีตัวเลขจุดทศนิยมไม่เกิน 2 ตำแหน่ง เช่น 14/35=2.5000 หรือ 16/36=2.2500 นี้ มันก็มีโอกาศที่จะไม่พบกันซ้ำๆของคู้ฟันใดอีก ดังนั้นแบบทศนิยมไม่เกิน2ตำเหน่งเป็นแบบที่ดีแต่ไม่ด ีที่สุดครับ

    3. แบบหารแล้วเกิดทศนิยมเกิน3ตำแหน่ง แบบนี้เป็นแบบที่ทางบรษัทผู้ผลิตใช้กันมากที่สุดเข้า เรื้องไม่ว่าจะเป็นในส่วนของเฟืองเกยร์ เฟืองชามคลัทช์ จนถึงสเตอร์ เพราะแบบนี้ฟันเฟืองจะหมุนวนให้ทุกฟันเฟืองของทั้งคู ่ได้พบกันทุกฟันการสึกหรอจึงเป็นไปแบบกระจายตัว สรุปก็คือ การที่ให้ฟันเฟืองทุกฟันของคู่เฟืองได้พบกันทุกฟันเป ็นสิ่งที่ดีที่สุด และการที่จะได้รู้ได้ว่าฟันเฟืองทุกฟันได้พบกันหมดกู ดูจากผลคำนวณอัตราทดว่าเป็นจุดทศนิยม เกิน3ตำแหน่งหรือไม่ซึ่งสเตอร์เองก็ต้องใช้การดูเช่น นี้เหมือนกัน แต่ทั้งนี่ทั้งนันในส่วนของสเตอร์เองยังมีตัวแปลที่ส ำคัญที่จะทำให้มีผลต่อการแข่งขันคือ โซ้ แล้ขนาดของสเตอร์อีกด้วย
    71 Vintage Machine




    [IMG][/IMG]

  3. #3
    Member MiNi71's Avatar
    วันที่สมัคร
    Jan 2006
    สถานที่
    71 Vintage Machine
    ข้อความ
    271
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน

    em97 วันหลังจะมาแนะนำ ขั้นตอนทำสีรถ ด้วยตัวเองครับ
    71 Vintage Machine




    [IMG][/IMG]

  4. #4
    Senior Member M:o:D's Avatar
    วันที่สมัคร
    Dec 2005
    สถานที่
    >>71 ViNtAgE MaChInE<<
    ข้อความ
    1,836
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    20

    Thumbs up

    เดี๋ยวนี้วิชาการเนาะ
    Saturndee Shoes
    @Jatujak Section 6 Soi 1

  5. #5
    Member MiNi71's Avatar
    วันที่สมัคร
    Jan 2006
    สถานที่
    71 Vintage Machine
    ข้อความ
    271
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน

    อิอิ นิดนึง
    71 Vintage Machine




    [IMG][/IMG]

  6. #6
    Member MiNi71's Avatar
    วันที่สมัคร
    Jan 2006
    สถานที่
    71 Vintage Machine
    ข้อความ
    271
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน Diy ทำสีล้อ

    DIY ทำสีล้อแม๊กกันนะพี่น้อง

    แต่จิงล้ออย่างอื่นก็ทำได้นะครับ วิธีนี้ไวและสะดวกมากมาย

    บางทีการทีเราจะงัดยางออกมามันค่อนข้างยากครับ

    เอาวิธีนี้ไปลองใช้กันละกันเนี่ยนเหมือนกันครับลองดู นะ

    - ขัดสีเก่า ด้วยกระดาษทราย เบอร์ 320- 600 ครับ หรือไล่เอบร์เอาจะเนียนกว่า

    - ปล่อยลมยางออกก่อน หรือ เอาศรออกเลย

    - หากระดาษ แข็งหน่อยก็ดีนะจะได้เสียบเข้าไปในร่องยางง่ายๆ

    - เสียบซ้อนกันให้ทั่วยางเลยครับ กะความ ก*ย ให้พอดียางนะ สีจะได้ไม่ไปโดนยาง

    - เสียบทั่งสองฝั่งเลยนะพี่น้อง

    - และก็จัดการพ่นพื้น ก่อนเลย ทิ้งไว้ 20 นาที

    - ตามด้วยสี จิงๆ ทิ้งใว้ 30 นาที

    - เครือบแลคเกอร์ ทิ้งใว้ 2 - 12 ชม.

    - ทิ้งให้แห้ง หรือตากแดด ใว้

    - เอากระดาษออก เติมลม พร้อมขี่



    และมาดูผลงานกัน พอดูได้มั้ยครับพี่-น้อง ในรูปนี่ ใช้กาพ่นนะครับ จะเงากว่าใช่สเปร์

    71 Vintage Machine




    [IMG][/IMG]

  7. #7
    Member MiNi71's Avatar
    วันที่สมัคร
    Jan 2006
    สถานที่
    71 Vintage Machine
    ข้อความ
    271
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน

    วันหน้าจะมาแสดงวิธีทำสีแบบละเอียดเลยครับ
    cool
    การเลี้ยงสัน กันโป๊ว การพ่นกา และเคล็ดรับอื่นๆ
    71 Vintage Machine




    [IMG][/IMG]

  8. #8
    Senior Member PRAYNA 71 CLUB's Avatar
    วันที่สมัคร
    Dec 2005
    สถานที่
    รามอินทรา 34
    ข้อความ
    1,824
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    20

    มาตรฐาน

    สุดยอดครับน้อง..........แหล่มเลย
    [U71 vintage machine][/U]

  9. #9
    Senior Member
    วันที่สมัคร
    May 2006
    สถานที่
    n.p.k. จงจำชื่อนี้ไว้
    ข้อความ
    855
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 1 ครั้ง ใน 1 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    18

    มาตรฐาน

    ถามเรื่องการทดสเตอร์หน่อยคับ
    ถ้าใส่ข้างหน้า 14 หลัง 28 อัตราทด 2.000
    ถ้าใส่ข้างหน้า 15 หลัง 30 อัตราทด 2.000
    การทดสเตอร์ 2 แบบนี้จะได้แรงต้นแรงปลายเท่ากันหรือเปล่าคับในเมื่อ อัตราทดมันเท่ากันคับสงสัยมานานละคับ

  10. #10
    Senior Member PRAYNA 71 CLUB's Avatar
    วันที่สมัคร
    Dec 2005
    สถานที่
    รามอินทรา 34
    ข้อความ
    1,824
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    20

    มาตรฐาน


    รอผู้รู้มาตอบ....
    [U71 vintage machine][/U]

Bookmarks

กฎการส่งข้อความ

  • You may not post new threads
  • You may not post replies
  • You may not post attachments
  • You may not edit your posts
  •