ว่าด้วยจานปั่นรถโรงงานราเล่ห์ (รัดจ์ ฮัมเบอร์ ไทรอัมท์ บีเอสเอฯลฯ) - หน้า 7
                                
หน้าที่ 7 จากทั้งหมด 9 หน้า แรกแรก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หน้าสุดท้ายหน้าสุดท้าย
กำลังแสดงผล 91 ถึง 105 จากทั้งหมด 122

ชื่อกระทู้: ว่าด้วยจานปั่นรถโรงงานราเล่ห์ (รัดจ์ ฮัมเบอร์ ไทรอัมท์ บีเอสเอฯลฯ)

  1. #91
    Junior Member
    วันที่สมัคร
    May 2006
    ข้อความ
    34
    ขอบคุณ
    1
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    0

    มาตรฐาน



    อ้างอิง ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ crank อ่านข้อความ
    [SIZE=4]ทุกเรื่องที่กล่าวมาเป็นเรื่องที่น่าสนใจแทบทั้งสิ้น ในวาระนี้ขอความกรุณาเป็นเรื่องจานก่อนนะครับ รายละเอียดที่มีความเกี่ยวพันกับส่วนอื่นๆ ขอให้หยิบยกประกอบเพียงสั้นๆ ถ้าเป็นไปได้อยากให้แตกเป็นหัวข้อใหม่ไปเลยครับ ตั้งกระทู้ใหม่ได้ เช่นเรื่องซี่ลวด เรื่อง เบรค และลายน้ำ รวมถึงการประกอบ เทคนิคและทิป ต่างๆ ฯลฯ จะได้มีหัวข้อที่สามารถสืบค้นได้เป็นหมวดๆๆเป็นเรื่อ งๆๆคนที่มีข้อมูลสามารถมาเพิ่มเติมได้เรื่อยๆ เนื่องด้วยทุกท่านก็ได้สละเวลา ร่วมสังคายนาเรื่องจานแล้ว คนที่เพิ่งเข้ามาทีหลังจะได้ไม่งงไม่หลงประเด็น ส่วนเรื่องประสบการณ์อื่นก็อยากให้ตั้งหัวกระทู้ใหม่ เช่นกันครับเพระาในหัวข้อนี้มีความสนุกปนความเศร้าเค ล้าน้ำตา ผู้อ่านก็จะได้รับความเพลิดเพลิน มากกว่า

    ขอความกรุณาด้วยนะครับ ขอเน้นเรื่องจานให้จบ เป็นวาระแรก ก่อน[/SIZE]
    เห็นดีด้วย และขออภัยอย่างแรงครับ!!!
    ที่ชอบหักเลี้ยวลงข้างทางอยู่เรื่อย ทำให้กระทู้รกรุงรังเกินความจำเป็น
    สันดานผมมันชอบยั่วยุเพื่อให้ความรู้มันแตกตัวน่ะครั บ
    ทั้งที่บางเรื่องมันก็เกือบจะยุติได้อยู่แล้ว ก็อย่าถือสาหาความเลยนะครับ
    คิดเสียว่าเป็นเสียงจิ้งจกทัก หรือติเพื่อก่อการเชิงสร้างสรรค์
    มากกว่าเป็นพวกโรคจิตก่อกวนกระทู้เลยนะครับ และคงไม่ทำเช่นนี้อีก
    การตั้งคำถามต่อทุกข้อมูลความรู้มันจะช่วยตอกย้ำถึงค วามแข็งแรงของความจริงข้อมูลนะครับ
    ถ้าเราเออ ออต่อทุกสิ่งที่นำเสนอ โดยไม่มีความคิดอื่นมาช่วยถ่วง ชั่ง ตวง วัด เท่ากับเรามีไม้บรรทัดอันเดียววัดทุกคำตอบ....เอ่อ เริ่มยาวอีกแล้วนะครับ.�

  2. #92

    มาตรฐาน

    ผมความรู้..งูๆ ปลาๆ..snake.....Fish fish..
    เอาคันเก่งมาปั่นด้วยกันดูนะครับ เผื่อจะเข้าใจความรู้สึกที่รถถูกสร้างขึ้นมา
    เหมือนการเกิด กลุ่มจักรยานกลุุ่มต่างๆ การที่ปั่นคนเดียวอาจรู้สึกว่า เหงาว้าเหว่...ก็เป็นได้...
    เรื่องจาน มันแค่ ภายนอกครับ ถ้าจะถกกันจริงๆ ก็คงมีเรื่องให้ถกไม่จบครับ ก็ค่อยๆ ถกกันไปครับ
    >>>> แวะชิบชา กาแฟ ลิ้มรสชาติความ หอมกรุ่น อบอุ่น ไปด้วยกันครับ <<<<<
    ทุกวันนี้ ผมยังไม่รู้เลยว่า โรงงานลูกปืนที่ผลิตให้ราเล่ย์ เจ้าแรก คือบริษัท อะไร เพราะไม่ได้ติดตามลึกขนาดนั้น

    ^^ "เหตุผลที่รัก รักไม่มีเหตุ ไมตรี มีแต่สันติ " ขอบคุณครับ

    โบ ร า ณ ข า แร งส์
    Vintage Racing

    "หลังองค์พระปฏิมา มีที่ว่างเสมอ "


  3. #93
    Junior Member
    วันที่สมัคร
    May 2006
    ข้อความ
    34
    ขอบคุณ
    1
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    0

    มาตรฐาน

    มีข้อเสนอแนะอันหนึ่งที่น่าจะถูกนำมาใช้พิจารณาร่วม ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวรถกับจานก็คือ " chromium " ครับ
    ซึ่งมันอาจจะเป็นตัวแปรหรือเป็นกุญแจสำคัญในการหาควา มถูกต้องของการอยู่ร่วมกันระหว่างของสองสิ่งนี้
    ณ. ขณะนี้ผมยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนว่า Raliegh Industry เริ่มนำโครเมี่ยมเข้ามาใช้ชุบจานตั้งแต่เมื่อใด?
    ทั้งที่โครเมี่ยมถูกค้นพบตั้งแต่ปี 1797 แล้ว แต่นำมาใช้ในฐานะส่วนประกอบของสี และอุตสาหกรรมฟอกหนัง
    จนกระทั่งได้รับการพัฒนาเข้าสู่อุตสาหกรรมเหล็ก ในปี 1907 และน่าจะถูกใช้ชุบผิวเหล็กด้วยไฟฟ้า ( chromizing ) เพื่อป้องกันการผุกร่อนในปี 1926�
    และอย่างที่ได้เรียนไว้ว่าช่วงแรกมันเป็นวัสดุทางการ ทหาร ยังไม่มีการแพร่หลายสู่การพานิชย์ ( ที่จริงคิดค้นสแตนเลสได้ตั้งแต่ปี 1913 แล้วแต่มันคงเป็นสุดยอดวัสดุที่ราคาแพงมหาศาล )
    เช่น โรงงาน BSA ใน Bermingham ที่ผลิตอาวุธให้กองทัพก็นำโครเมี่ยมมาใช้แล้ว
    ดังนั้นรถจักรยานในยุคเริ่มแรกตั้งแต่ปี 1887 ของโรงงาน RI จานปั่นที่มีหน้าตาคล้ายจานพวงมาลัย จึงผลิตจากเหล็กรมดำ ( ใครมีเก็บไว้บ้างยกมือขึ้น! )
    เท่าที่สมองผุๆของผมจะจำได้ รถที่ประกอบขึ้นในปี 1945 ก็ยังเป็นจานรมดำอยู่ ( ไม่ว่าจะเป็น logo หรือพวงมาลัย )
    และ " น่าจะ" เริ่มใส่จานชุบลงในปี 1960 เท่านั้นเอง!!! ( ตัวเลขนี้ฝันเอาและมั่วมากเชิญด่าได้เลยครับ )
    ทีนี้ลองก้มลงดู serial number ที่ตอกบนตัวถังรถของท่าน แล้วเทียบเวลาในตารางกากๆที่ฝรั่งมันนำเสนอตามเวปต่า งๆ ว่าจานเราควรเป็นรมดำหรือโครเมี่ยมกันก่อนเป็นปฐมนะค รับ. �

  4. #94
    T13's Avatar
    วันที่สมัคร
    Nov 2006
    ข้อความ
    1,839
    ขอบคุณ
    67
    ได้รับขอบคุณ 24 ครั้ง ใน 14 ข้อความ
    Blog Entries
    1
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน

    อ้างอิง ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nottingham อ่านข้อความ
    มีข้อเสนอแนะอันหนึ่งที่น่าจะถูกนำมาใช้พิจารณาร่วม ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวรถกับจานก็คือ " chromium " ครับ
    ซึ่งมันอาจจะเป็นตัวแปรหรือเป็นกุญแจสำคัญในการหาควา มถูกต้องของการอยู่ร่วมกันระหว่างของสองสิ่งนี้
    ณ. ขณะนี้ผมยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนว่า Raliegh Industry เริ่มนำโครเมี่ยมเข้ามาใช้ชุบจานตั้งแต่เมื่อใด?
    ทั้งที่โครเมี่ยมถูกค้นพบตั้งแต่ปี 1797 แล้ว แต่นำมาใช้ในฐานะส่วนประกอบของสี และอุตสาหกรรมฟอกหนัง
    จนกระทั่งได้รับการพัฒนาเข้าสู่อุตสาหกรรมเหล็ก ในปี 1907 และน่าจะถูกใช้ชุบผิวเหล็กด้วยไฟฟ้า ( chromizing ) เพื่อป้องกันการผุกร่อนในปี 1926�
    และอย่างที่ได้เรียนไว้ว่าช่วงแรกมันเป็นวัสดุทางการ ทหาร ยังไม่มีการแพร่หลายสู่การพานิชย์ ( ที่จริงคิดค้นสแตนเลสได้ตั้งแต่ปี 1913 แล้วแต่มันคงเป็นสุดยอดวัสดุที่ราคาแพงมหาศาล )
    เช่น โรงงาน BSA ใน Bermingham ที่ผลิตอาวุธให้กองทัพก็นำโครเมี่ยมมาใช้แล้ว
    ดังนั้นรถจักรยานในยุคเริ่มแรกตั้งแต่ปี 1887 ของโรงงาน RI จานปั่นที่มีหน้าตาคล้ายจานพวงมาลัย จึงผลิตจากเหล็กรมดำ ( ใครมีเก็บไว้บ้างยกมือขึ้น! )
    เท่าที่สมองผุๆของผมจะจำได้ รถที่ประกอบขึ้นในปี 1945 ก็ยังเป็นจานรมดำอยู่ ( ไม่ว่าจะเป็น logo หรือพวงมาลัย )
    และ " น่าจะ" เริ่มใส่จานชุบลงในปี 1960 เท่านั้นเอง!!! ( ตัวเลขนี้ฝันเอาและมั่วมากเชิญด่าได้เลยครับ )
    ทีนี้ลองก้มลงดู serial number ที่ตอกบนตัวถังรถของท่าน แล้วเทียบเวลาในตารางกากๆที่ฝรั่งมันนำเสนอตามเวปต่า งๆ ว่าจานเราควรเป็นรมดำหรือโครเมี่ยมกันก่อนเป็นปฐมนะค รับ. �
    war time, all black สองคำนี้น่าจะมีผลต่อจานปั่นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง

    แล้วถ้ามันทั้งชุบและรมดำในอันเดียวแบบในรูป (ซึ่งหลายท่านคงเคยเจอในรถโรงงานราเล่ห์) มันจะกลายเป็นไก่กับไข่ไหม เราจะใช้โครเมียมมาวัดความเก่าใหม่ของรถได้ไหม
    ผมคงวกกลับมาที่ ถ้ารถท่านผลิตในช่วง war time?? หรือเป็นรุ่น all black ??? ซึ่งรายละเอียดตรงนี้ ขอให้ผู้ที่มีข้อมูลมาช่วยไขต่อไปครับ


  5. #95
    T13's Avatar
    วันที่สมัคร
    Nov 2006
    ข้อความ
    1,839
    ขอบคุณ
    67
    ได้รับขอบคุณ 24 ครั้ง ใน 14 ข้อความ
    Blog Entries
    1
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน

    อีกประการที่น่าจะเอามาพิจารณาเรื่องของจานปั่นคือ ตัวปั๊มโลโก้ตรงขาจาน
    ซึ่งมักจะมี
    -ท่านเซอร์ หรือตาแปะ แล้วแต่จะเรียก
    - ตัวอักษร raliegh in*****
    -ไม่มีอะไรเลย
    -หัวนก และ คำว่า raleigh
    ฯลฯ


    ถ้าตัดเรื่องโครเมียมไป แบบไหนเก่ากว่าครับ



  6. #96
    หัวโป่'s Avatar
    วันที่สมัคร
    Mar 2006
    สถานที่
    คนบ้ารถถีบ
    ข้อความ
    1,269
    ขอบคุณ
    1
    ได้รับขอบคุณ 14 ครั้ง ใน 8 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    20

    มาตรฐาน

    อ้างอิง ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nottingham อ่านข้อความ
    มีข้อเสนอแนะอันหนึ่งที่น่าจะถูกนำมาใช้พิจารณาร่วม ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวรถกับจานก็คือ " chromium " ครับ
    ซึ่งมันอาจจะเป็นตัวแปรหรือเป็นกุญแจสำคัญในการหาควา มถูกต้องของการอยู่ร่วมกันระหว่างของสองสิ่งนี้
    ณ. ขณะนี้ผมยังไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนว่า Raliegh Industry เริ่มนำโครเมี่ยมเข้ามาใช้ชุบจานตั้งแต่เมื่อใด?
    ทั้งที่โครเมี่ยมถูกค้นพบตั้งแต่ปี 1797 แล้ว แต่นำมาใช้ในฐานะส่วนประกอบของสี และอุตสาหกรรมฟอกหนัง
    จนกระทั่งได้รับการพัฒนาเข้าสู่อุตสาหกรรมเหล็ก ในปี 1907 และน่าจะถูกใช้ชุบผิวเหล็กด้วยไฟฟ้า ( chromizing ) เพื่อป้องกันการผุกร่อนในปี 1926�
    และอย่างที่ได้เรียนไว้ว่าช่วงแรกมันเป็นวัสดุทางการ ทหาร ยังไม่มีการแพร่หลายสู่การพานิชย์ ( ที่จริงคิดค้นสแตนเลสได้ตั้งแต่ปี 1913 แล้วแต่มันคงเป็นสุดยอดวัสดุที่ราคาแพงมหาศาล )
    เช่น โรงงาน BSA ใน Bermingham ที่ผลิตอาวุธให้กองทัพก็นำโครเมี่ยมมาใช้แล้ว
    ดังนั้นรถจักรยานในยุคเริ่มแรกตั้งแต่ปี 1887 ของโรงงาน RI จานปั่นที่มีหน้าตาคล้ายจานพวงมาลัย จึงผลิตจากเหล็กรมดำ ( ใครมีเก็บไว้บ้างยกมือขึ้น! )
    เท่าที่สมองผุๆของผมจะจำได้ รถที่ประกอบขึ้นในปี 1945 ก็ยังเป็นจานรมดำอยู่ ( ไม่ว่าจะเป็น logo หรือพวงมาลัย )
    และ " น่าจะ" เริ่มใส่จานชุบลงในปี 1960 เท่านั้นเอง!!! ( ตัวเลขนี้ฝันเอาและมั่วมากเชิญด่าได้เลยครับ )
    ทีนี้ลองก้มลงดู serial number ที่ตอกบนตัวถังรถของท่าน แล้วเทียบเวลาในตารางกากๆที่ฝรั่งมันนำเสนอตามเวปต่า งๆ ว่าจานเราควรเป็นรมดำหรือโครเมี่ยมกันก่อนเป็นปฐมนะค รับ. �
    ลองไล่เรียงข้อมูลกากๆจากหลายๆแหล่งรวมกัน พบว่าการระบุในเอกสารราเล่ห์เริ่มใช้การชุบโครเมี่ยม เพื่อรักษาเนื้อเหล็ก เพื่อการพานิชณ์ตั้งแต่ปี 1930 เป็นต้นมา ก่อนหน้าราเล่ห์ใช้การชุบนิเกิลและอีนาเมลแทน แต่เหตุผลนั้นคงไม่ทราบได้ คงเป็นเพียงข้อมูลในเบื้องต้นที่สามารถยืนยันด้วยเอก สารได้ ต้องรอให้ท่านอื่น เพิ่มเติมขยายผล
    Name:  Chp.jpg
Views: 524
Size:  39.3 KB
    1930 Raleigh Catalogue, Page 4
    "ถ้าชอบ ก็ทำเถิด แต่อย่าทำให้คนอื่นเค้าเดือดร้อนนะลูก"

  7. #97
    Junior Member
    วันที่สมัคร
    May 2006
    ข้อความ
    34
    ขอบคุณ
    1
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    0

    มาตรฐาน

    ในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า จะแบ่งออกเป็น 3 process ด้้วยกันครับ

    1. กระบวนการชุบนิเกิลด้วยไฟฟ้าโดยใช้ของเหลวเป็นตัวเหน ี่ยวนำกระแส �ผลที่ได้คือผิวเหล็กจะถูกปกคลุมด้วยอนุภาคนิเกิลจนก ลายเป็นสีเงินมัวๆ เราเรียกว่า " ชุบด้าน "
    ซึ่งในกระบวนการนี้ก็มีประสิทธิภาพปกป้องผิวเหล็กในร ะดับหนึ่งแล้ว แต่มันก็ยังดูหมองๆหม่นๆเป็นฝ้าไม่สวยงาม
    2. กระบวนการชุบโครเมี่ยม ผสานลงไปบนผิวนิเกิลอีกชั้นหนึ่ง ทำให้ประสิทธิภาพในการปกป้องสูงขึ้นไปอีก
    3. กระบวนการใช้เครื่องขัดเงาด้วยผ้าและน้ำยา จนชิ้นส่วนเปล่งปลั่งแวววาว �ก็เป็นอันเสร็จสิ้นและเรียกว่า "ชุบเงา"

    ดังนั้นจะเห็นได้ว่าในprocessแรกนั้นก็คงถูกนำมาใช้ใ นโรงงานนานแล้วก่อนโครเมี่ยม และน่าจะต่ำกว่าปี 1930 เสียด้วยซ้ำ และทำให้เราพอจะกำหนดหรือคาดเดาอายุของชิ้นส่วนที่ปร ากฏการชุบด้านนี้ได้คร่าวๆ ตั้งแต่น๊อต แฮนด์ หลักอาน วงล้อ ซี่ลวด ฯลฯ ส่วนจานผมเดาว่าคงเริ่มถูกนำมาชุบหลังสุด ( อาจเพราะมีหุ้มโซ่และน้ำมันหล่อลื่น ช่วยปกป้องแล้วก็เป็นได้ ) ส่วนจะเริ่มตอกคำว่า Raliegh �Industry หรือยังอันนี้ไม่แน่ใจ แต่ตามข้อมูลที่อ้างอิงจากอีตา เชลดอน น้ำตาล ( ลองใช้อากู๋แปลให้ ฮามั่กๆ ) ที่หลายคนในเวปนี่คงรู้จักแกดี และใช้อ้างอิงกันบ่อยๆ แกก็บอกว่ายังไม่เคยพบจานชุบโครเมี่ยมก่อนปี 1945
    ต่อมาจึงเริ่มนำโครเมี่ยมเข้ามาใช้ (ราคาคงถูกลงบ้างแล้ว ) ในช่วงแรกจะมีลักษณะผสมผสาน จึงเป็นเหตุให้แทบทุกชิ้นส่วนเกิดผิวที่มี 2 คุณลักษณะ คือ บางส่วนด้าน และบางส่วนเงา ( ผมมองว่าสวย คลาสสิกมากก ) และประทับตรา Raliegh Industry คมชัดลงบนทุกชิ้นส่วน เห็นได้ชัดเจนจากจานและวงล้อฝ้ากลาง รถที่ปรากฏในช่วงนี้เป็นรถที่ผมปราถนามากที่สุด เพราะยังพอหาชิ้นส่วน NOS ในประเทศไทยได้ครบทุกชิ้น และนำมาประกอบเข้ากันได้ง่ายดายไม่มีข้อผิดพลาด อะไหล่เนี๊ยบทุกชิ้นดั่งศิลปกรรม ผมถือว่ายุคนี้ ( หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 )เป็นจุดสูงสุดของการสร้างจักรยานเท่าที่เคยมีมาในโล กใบนี้ มันคือเรอเนซองส์แห่งจักรยานเลยก็ว่าได้!!!
    หลังจากนั้น ( คงหลัง 1970 เป็นต้นมา ) อะไรที่ไม่ใช่ชุดสี พี่เขาก็ชุบเงาเรียบวุธ ชุบกระทั่งน๊อต! เหมือนคนบ้าคลั่งความเงา คำว่า RI มันคงเยิ่นเย้อเกินไป ก็เลยเปลี่ยนเป็นสัญลักษ์แทน ก็คือท่านเชอร์ฯ ( บางคนก็เรียก รูปคน ,ตาแป๊ะ,อัศวิน,ขุนพล ฯลฯ ตามความเชื่อเฉพาะกลุ่ม อย่าเอามาเถียงกันก็แล้วกัน ) จะเห็นได้ว่าก็คุณภาพมันเบลอมากจนใครจะมองเป็นตัวอะไ รก็ได้ แถมยังมีตัวใหญ่ตัวเล็กให้เด็กรุ่นหลังต้องมาเถียงกั นอีก รถในรุ่นนี้เริ่มประกอบยากแล้วครับ มันงึกๆงักๆยังไงชอบกล ยิ่งพวกรถเกรดรอง ( จานบังโช่ชุบสีไม่ได้ชุบโครเมี่ยม ) ต้องปล้ำกันนานกว่าจะเอาอยู่
    สุดท้ายก็คือการมาของสแตนเลส ( เหล็ก+โครเมี่ยมเข้าไปเลย ) โดยเฉพาะวงล้อและซี่ลวด และพร้อมกับการล่มสลายของที่สุดแห่งจักรยานในโลกนี้. �

  8. #98
    หัวโป่'s Avatar
    วันที่สมัคร
    Mar 2006
    สถานที่
    คนบ้ารถถีบ
    ข้อความ
    1,269
    ขอบคุณ
    1
    ได้รับขอบคุณ 14 ครั้ง ใน 8 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    20

    มาตรฐาน

    อ้างอิง ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nottingham อ่านข้อความ
    ในการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า จะแบ่งออกเป็น 3 process ด้้วยกันครับ

    1. กระบวนการชุบนิเกิลด้วยไฟฟ้าโดยใช้ของเหลวเป็นตัวเหน ี่ยวนำกระแส �ผลที่ได้คือผิวเหล็กจะถูกปกคลุมด้วยอนุภาคนิเกิลจนก ลายเป็นสีเงินมัวๆ เราเรียกว่า " ชุบด้าน "
    ซึ่งในกระบวนการนี้ก็มีประสิทธิภาพปกป้องผิวเหล็กในร ะดับหนึ่งแล้ว แต่มันก็ยังดูหมองๆหม่นๆเป็นฝ้าไม่สวยงาม
    2. กระบวนการชุบโครเมี่ยม ผสานลงไปบนผิวนิเกิลอีกชั้นหนึ่ง ทำให้ประสิทธิภาพในการปกป้องสูงขึ้นไปอีก
    3. กระบวนการใช้เครื่องขัดเงาด้วยผ้าและน้ำยา จนชิ้นส่วนเปล่งปลั่งแวววาว �ก็เป็นอันเสร็จสิ้นและเรียกว่า "ชุบเงา"

    ดังนั้นจะเห็นได้ว่าในprocessแรกนั้นก็คงถูกนำมาใช้ใ นโรงงานนานแล้วก่อนโครเมี่ยม และน่าจะต่ำกว่าปี 1930 เสียด้วยซ้ำ และทำให้เราพอจะกำหนดหรือคาดเดาอายุของชิ้นส่วนที่ปร ากฏการชุบด้านนี้ได้คร่าวๆ ตั้งแต่น๊อต แฮนด์ หลักอาน วงล้อ ซี่ลวด ฯลฯ ส่วนจานผมเดาว่าคงเริ่มถูกนำมาชุบหลังสุด ( อาจเพราะมีหุ้มโซ่และน้ำมันหล่อลื่น ช่วยปกป้องแล้วก็เป็นได้ ) ส่วนจะเริ่มตอกคำว่า Raliegh �Industry หรือยังอันนี้ไม่แน่ใจ แต่ตามข้อมูลที่อ้างอิงจากอีตา เชลดอน น้ำตาล ( ลองใช้อากู๋แปลให้ ฮามั่กๆ ) ที่หลายคนในเวปนี่คงรู้จักแกดี และใช้อ้างอิงกันบ่อยๆ แกก็บอกว่ายังไม่เคยพบจานชุบโครเมี่ยมก่อนปี 1945
    ต่อมาจึงเริ่มนำโครเมี่ยมเข้ามาใช้ (ราคาคงถูกลงบ้างแล้ว ) ในช่วงแรกจะมีลักษณะผสมผสาน จึงเป็นเหตุให้แทบทุกชิ้นส่วนเกิดผิวที่มี 2 คุณลักษณะ คือ บางส่วนด้าน และบางส่วนเงา ( ผมมองว่าสวย คลาสสิกมากก ) และประทับตรา Raliegh Industry คมชัดลงบนทุกชิ้นส่วน เห็นได้ชัดเจนจากจานและวงล้อฝ้ากลาง รถที่ปรากฏในช่วงนี้เป็นรถที่ผมปราถนามากที่สุด เพราะยังพอหาชิ้นส่วน NOS ในประเทศไทยได้ครบทุกชิ้น และนำมาประกอบเข้ากันได้ง่ายดายไม่มีข้อผิดพลาด อะไหล่เนี๊ยบทุกชิ้นดั่งศิลปกรรม ผมถือว่ายุคนี้ ( หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 )เป็นจุดสูงสุดของการสร้างจักรยานเท่าที่เคยมีมาในโล กใบนี้ มันคือเรอเนซองส์แห่งจักรยานเลยก็ว่าได้!!!
    หลังจากนั้น ( คงหลัง 1970 เป็นต้นมา ) อะไรที่ไม่ใช่ชุดสี พี่เขาก็ชุบเงาเรียบวุธ ชุบกระทั่งน๊อต! เหมือนคนบ้าคลั่งความเงา คำว่า RI มันคงเยิ่นเย้อเกินไป ก็เลยเปลี่ยนเป็นสัญลักษ์แทน ก็คือท่านเชอร์ฯ ( บางคนก็เรียก รูปคน ,ตาแป๊ะ,อัศวิน,ขุนพล ฯลฯ ตามความเชื่อเฉพาะกลุ่ม อย่าเอามาเถียงกันก็แล้วกัน ) จะเห็นได้ว่าก็คุณภาพมันเบลอมากจนใครจะมองเป็นตัวอะไ รก็ได้ แถมยังมีตัวใหญ่ตัวเล็กให้เด็กรุ่นหลังต้องมาเถียงกั นอีก รถในรุ่นนี้เริ่มประกอบยากแล้วครับ มันงึกๆงักๆยังไงชอบกล ยิ่งพวกรถเกรดรอง ( จานบังโช่ชุบสีไม่ได้ชุบโครเมี่ยม ) ต้องปล้ำกันนานกว่าจะเอาอยู่
    สุดท้ายก็คือการมาของสแตนเลส ( เหล็ก+โครเมี่ยมเข้าไปเลย ) โดยเฉพาะวงล้อและซี่ลวด และพร้อมกับการล่มสลายของที่สุดแห่งจักรยานในโลกนี้. �
    ในเมื่อการชุบด้วยเทคนิคต่างๆเกิดขึ้นในทุกช่วงปี และไม่สามารถจำแนกแยกแยะได้ ปัจจัยที่มีผลต่อการชุบจนถึงปัจจุบันคือ การเก็บรักษา, สภาพภูมิอากาศความชื้น อาจจะทำให้แปรผลผิดได้ง่ายมาก เหตุผลที่จะใช้การชุบมาจำแนกปีหรือความเก่า จึงไม่อาจจะใช้เหตุนี้ชี้วัดได้ เรายังมีปัจจัยอื่นๆที่สามารถจำแนกแยกเยอะอย่างคร่าว ๆได้แม่นยำกว่า

    การจำแนกด้วยสัญลักษณ์แบบต่างๆที่ประทับลงไปในเนื้อเ หล็ก สามารถจำแนกได้ง่ายกว่า และเงื่อนไขน้อยกว่า ไม่เกี่ยวกับการเก็บรักษา สภาพอากาศ ซึ่งข้อมูลก็มีเพียงพออย่างคร่าว และเป็นรูปธรรม
    แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย หัวโป่ : 05-09-2012 เมื่อ 22:15
    "ถ้าชอบ ก็ทำเถิด แต่อย่าทำให้คนอื่นเค้าเดือดร้อนนะลูก"

  9. #99
    T13's Avatar
    วันที่สมัคร
    Nov 2006
    ข้อความ
    1,839
    ขอบคุณ
    67
    ได้รับขอบคุณ 24 ครั้ง ใน 14 ข้อความ
    Blog Entries
    1
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน

    จากช่วง 1930's RALEIGH SPORTS MODEL













    รูป รูป  
    จักรยานหายากน่าสะสม (bsa/sunbeam)

    T.086-9223389
    Line id: twat13

    หรือ mail [email protected]

    ธ.กสิกรไทย ธวัชชัย กันธิยา 121-2-34243-9

    สินค้าไม่รับจอง

  10. #100
    Senior Member roadrunner_64's Avatar
    วันที่สมัคร
    Apr 2011
    ข้อความ
    1,193
    ขอบคุณ
    0
    ได้รับขอบคุณ 3 ครั้ง ใน 2 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    15

    มาตรฐาน

    ฝากด้วยครับเผื่อเป็นประโยชน์บ้าง เช็คหยาบๆ(จากอินเตอร์เน็ด)ประมาณปี 1938

    Name:  CIMG4124.jpg
Views: 592
Size:  28.1 KB

    อะไหล่ประกอบดำทั้งคันยกเว้นแฮนด์ เช่น จาน ขาจาน บันได ชุุดเกียร์ ล้อดันลอปคาดดำ ชุดเบรค น็อตก้ามสาย คอม้าบน ตระกร้อล่างดำหมด
    roadrunner_64 (คุณเต้)
    TEL. : 087-8918521
    E-mail : [email protected]

    https://www.facebook.com/kasem.tupanich





    โอนเงินได้ที่ ธ.กสิกรไทย สาขาเดอะมอล์บางกะปิ 732-2-81381-8 นายเกษม ตูพานิช


    _______

  11. #101
    Junior Member
    วันที่สมัคร
    May 2006
    ข้อความ
    34
    ขอบคุณ
    1
    ได้รับขอบคุณ 0 ครั้ง ใน 0 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    0

    มาตรฐาน

    มีข้อมูลขัดแย้งกัน 2-3 ข้อมูลแล้วนะครับ ใครมีเนื้อหาอะไรแตกต่างลองนำเสนอมาเลยครับ
    ป.ล. �ผมส่ง maintenance Book ฉบับวณิพก ทางmail ให้คุณ Maxbike แล้วนะครับ�
    หวังว่าคงจะเป็นแนวทางได้ไม่มากก็น้อยนะครับ

  12. #102

    มาตรฐาน

    อ้างอิง ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ nottingham อ่านข้อความ
    มีข้อมูลขัดแย้งกัน 2-3 ข้อมูลแล้วนะครับ ใครมีเนื้อหาอะไรแตกต่างลองนำเสนอมาเลยครับ
    ป.ล. �ผมส่ง maintenance Book ฉบับวณิพก ทางmail ให้คุณ Maxbike แล้วนะครับ�
    หวังว่าคงจะเป็นแนวทางได้ไม่มากก็น้อยนะครับ
    ขอบคุณมากครับ น้า nottingham .... ขอบคุณครับได้รับแล้วครับ
    แก้ไขครั้งสุดท้ายโดย Maxbike : 11-09-2012 เมื่อ 22:46

  13. #103
    หัวโป่'s Avatar
    วันที่สมัคร
    Mar 2006
    สถานที่
    คนบ้ารถถีบ
    ข้อความ
    1,269
    ขอบคุณ
    1
    ได้รับขอบคุณ 14 ครั้ง ใน 8 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    20

    มาตรฐาน

    อ้างอิง ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ หัวโป่ อ่านข้อความ
    ในเมื่อการชุบด้วยเทคนิคต่างๆเกิดขึ้นในทุกช่วงปี และไม่สามารถจำแนกแยกแยะได้ ปัจจัยที่มีผลต่อการชุบจนถึงปัจจุบันคือ การเก็บรักษา, สภาพภูมิอากาศความชื้น อาจจะทำให้แปรผลผิดได้ง่ายมาก เหตุผลที่จะใช้การชุบมาจำแนกปีหรือความเก่า จึงไม่อาจจะใช้เหตุนี้ชี้วัดได้ เรายังมีปัจจัยอื่นๆที่สามารถจำแนกแยกเยอะอย่างคร่าว ๆได้แม่นยำกว่า

    การจำแนกด้วยสัญลักษณ์แบบต่างๆที่ประทับลงไปในเนื้อเ หล็ก สามารถจำแนกได้ง่ายกว่า และเงื่อนไขน้อยกว่า ไม่เกี่ยวกับการเก็บรักษา สภาพอากาศ ซึ่งข้อมูลก็มีเพียงพออย่างคร่าว และเป็นรูปธรรม
    นำเสนอข้อมูลสนับสนุนที่กล่าวไว้คือ “การชุบด้วยเทคนิคต่างๆเกิดขึ้นในทุกช่วงปี และไม่สามารถจำแนกแยกแยะได้” รถจักรยานราเล่ห์ในแคทตาล๊อกปีๆหนึ่ง ผลิตออกมาหลากหลายโมเดล และในโมเดลๆหนึ่งยังปลีกย่อยออกๆไปอีกหลายเวอร์ชั่น แต่สารขัณฑ์ประเทศนี้มักยึดติดแต่รุ่น Standard, Roadster อันที่ไม่เคยเห็นมาคือ ไม่ใช่ ไม่มี ผิดแบบ ไร้สาระ
    ทั้งๆที่ผลิตออกมาปีเดียวกันแท้ บางทีการตีความยังแปรไปได้อีก เพราะยังไงยังไม่ถูก(ใจ)ต้อง เดียวบานมากไว้กลับมาสู่ยุคของราเล่ห์ ในปี 1939 ตัวอย่างที่เห็นได้ว่ามาผลิตมาพร้อมกัน


    Name:  all weather.jpg
Views: 576
Size:  37.2 KB
    Raleigh All Weather Model 5
    อ้างอิง : 1939 Raleigh Calagues Page 21.

    Name:  tourist.jpg
Views: 616
Size:  33.5 KB
    Raleigh Tourist Model 21
    อ้างอิง : 1939 Raleigh Calagues Page 22.


    เล่มเดียวกัน หน้าถัดกัน คันแรกระบุไว้ว่า ตัวรถสีดำ อะไหล่ทั้งหมดสีดำ คันที่สอง ตัวรถสีดำ อะไหล่ทั้งหมดชุบโครเมี่ยม
    "ถ้าชอบ ก็ทำเถิด แต่อย่าทำให้คนอื่นเค้าเดือดร้อนนะลูก"

  14. #104
    หัวโป่'s Avatar
    วันที่สมัคร
    Mar 2006
    สถานที่
    คนบ้ารถถีบ
    ข้อความ
    1,269
    ขอบคุณ
    1
    ได้รับขอบคุณ 14 ครั้ง ใน 8 ข้อความ
    ผลการให้คะแนน
    20

    มาตรฐาน

    อ้างอิง ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ หัวโป่ อ่านข้อความ
    ในเมื่อการชุบด้วยเทคนิคต่างๆเกิดขึ้นในทุกช่วงปี และไม่สามารถจำแนกแยกแยะได้ ปัจจัยที่มีผลต่อการชุบจนถึงปัจจุบันคือ การเก็บรักษา, สภาพภูมิอากาศความชื้น อาจจะทำให้แปรผลผิดได้ง่ายมาก เหตุผลที่จะใช้การชุบมาจำแนกปีหรือความเก่า จึงไม่อาจจะใช้เหตุนี้ชี้วัดได้ เรายังมีปัจจัยอื่นๆที่สามารถจำแนกแยกเยอะอย่างคร่าว ๆได้แม่นยำกว่า

    การจำแนกด้วยสัญลักษณ์แบบต่างๆที่ประทับลงไปในเนื้อเ หล็ก สามารถจำแนกได้ง่ายกว่า และเงื่อนไขน้อยกว่า ไม่เกี่ยวกับการเก็บรักษา สภาพอากาศ ซึ่งข้อมูลก็มีเพียงพออย่างคร่าว และเป็นรูปธรรม
    จะลองบีบข้อมูลให้แคบลง อันไหนคิดว่าไม่ใช่ประเด็นหลัก แยกโยนออกไปก่อน
    ไม่งั้นทางแยกมีเยอะ เข้าซอยนั้นออกซอยนี้ หลงทางเดินตัวเอง สรุปประเด็นนี้ไม่จบซักที

    หากท่านใดมีข้อมูลเสริมหรือขัดแย้ง ลองพิจารณานำเสนอ เผื่อวงการจักรยานโบราณอาจจะยกระดับเทียบกับวงการรถค สาลิกอื่นๆ และต่อยอดเพิ่มไป


    1930 RALEIGH ChianWheel













    รูป รูป    
    "ถ้าชอบ ก็ทำเถิด แต่อย่าทำให้คนอื่นเค้าเดือดร้อนนะลูก"

  15. #105
    T13's Avatar
    วันที่สมัคร
    Nov 2006
    ข้อความ
    1,839
    ขอบคุณ
    67
    ได้รับขอบคุณ 24 ครั้ง ใน 14 ข้อความ
    Blog Entries
    1
    ผลการให้คะแนน
    19

    มาตรฐาน


    ถึงตรงนี้ผมสรุปเอง โครเมียมกับรมดำ เอามาวัดความเก่าใหม่ของจักรยานไม่ได้

หน้าที่ 7 จากทั้งหมด 9 หน้า แรกแรก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 หน้าสุดท้ายหน้าสุดท้าย

Bookmarks

กฎการส่งข้อความ

  • You may not post new threads
  • You may not post replies
  • You may not post attachments
  • You may not edit your posts
  •